eng homeabout usmekong riversalween rivermun riverthai baan researchpublication
 

ตารางสรุปมติคณะกรรมการกลางเพื่อแก้ไขปัญหาสมัชชาคนจน ตามคำสั่ง คชช.ที่ 7/2543

กรณีเขื่อน

กรณีปัญหา

มาตรการเร่งด่วน

มาตรการระยะสั้น

มาตรการระยะยาว(กลุ่มเขื่อน)

1.การจับกุมชาวบ้าน/ผู้นำ

รัฐบาลควรสั่งการ ให้ยุติการจับกุม ชาวบ้านหรือผู้นำ ในการชุมนุม

 

1.การศึกษาผลกระทบต้องให้ความ สำคัญกับผลกระทบทางสังคม การ ประเมินผลกระทบต้องควบคู่กับ การศึกษา ความ เหมาะสมโครง

2.เขื่อนปากมูล

ให้รัฐบาลสั่งการให้ กฟผ.ทดลองเปิด ประตูระบายน้ำทั้ง 8 บาน ตั้งแต่พฤษ ภาคม-สิงหาคม เพื่อให้ปลาวางไข่

-ให้รัฐบาลตั้งคณะกรรมการพหุภาคีเพื่อ จัดทำ แผนฟื้นฟูวิถีชีวิตและชุมชน 

-ตั้งคณะทำงานเพื่อสื่อสารกับสังคมใน ระหว่าง ที่ดำเนินการมาตรการระยะสั้นและยาว

 โดยให้หน่วยงาน กลางเป็นผู้ว่าจ้าง และกำกับการศึกษา โดยมีตัวแทนชาว บ้านและองค์กร พัฒนาเอกชน เข้าร่วม เป็นกรรมการ และได้รับงบ ประมาณสนับสนุนจาก รัฐบาล

3.เขื่อนราษีไศล

ให้รัฐบาลสั่งการเปิด ประตูระบายน้ำทั้ง 7 บาน

-การดำเนินการใด ๆ ในอนาคตต้องรอการ ศึกษา ผลกระทบ ทางสิ่งแวดล้อมและสังคม  โดยให้มี การรวมต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและ สังคมด้วย

-กระบวนการพิจารณาต้องตั้งคณะกรรมการ พหุภาคีที่มีฝ่ายต่าง ๆ เข้ามีส่วนร่วม

 2.การประเมินและจ่ายค่าชดเชย ต้อง ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดขึ้นจริง  และคำนึงถึงการใช้ประโยชน์จริง ทั้ง ในปัจจุบัน และอนาคต ทั้งด้าน เศรษฐ กิจและฐานทรัพยากรที่เป็นฐานชีวิต ของชุมชน

4.เขื่อนสิรินธร

 

1.รัฐบาลควรจ่ายค่าชดเชยแก่ชาวบ้าน

2. กรณีบ้านโนนจันทร์เก่า ให้สั่งการเพื่อตรวจ สอบการใช้ประโยชน์ของ กฟผ. หาก กฟผ.ไม่ ได้ใช้ให้พิจารณาคืนแก่ชาวบ้าน โดยให้จังหวัด ประสาน

3.ปรับปรุงคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ  ให้มีตัวแทนฝ่ายต่าง ๆ ทำ หน้าที่พิจารณารายงานการิวเคราะห์ ผลกระทบทางสังคมและสิ่ง แวดล้อม

5.เขื่อนลำคันฉู

 

1.ให้รัฐบาลสั่งการเพื่อทำรายงานผลกระทบทาง สังคมและสิ่งแวดล้อมย้อนหลัง หากพบผล กระทบจริง  ต้องมีมาตรการในการฟื้นฟูชีวิต และชุมชน 

2.ให้รัฐบาลพิจารณาสร้างระบบชลประทาน

3.กรณีเขื่อนร้าว ให้ตั้งคณะกรรมการพิจารณา  และ ให้ประกันความเสียหายหากเกิดเขื่อนพัง

4.ให้รัฐบาลจ่ายค่าชดเชยแก่ชาวบ้าน 2 รายให้ แล้วเสร็จ

ก่อนการตัดสินใจดำเนินโครง การและ ทำหน้าที่เป็น ผู้จัดการ เกี่ยวกับการ จ่ายค่าชดเชย 

4.แก้ไข พรบ.สิ่งแวดล้อม 35 ให้ สอดคล้อง กับความเป็นจริง และ คลอบคลุมปัญหาสิ่ง แวดล้อมที่รอบ ด้าน รวมถึงการปฏิรูปกฎหมายและ ระเบียบ เกี่ยวกับ การชดเชยผล กระทบ

6.เขื่อนห้วยละห้า

 

ให้สั่งการเพื่อดำเนินการพิสูจน์สิทธิ์โดยคณะ กรรมการระดับ จังหวัดและมีสมัชชาคนจน มี ส่วนร่วม หากพบว่าเสียหาย ให้ จ่ายค่าชดเชย

 5.จัดตั้งและพัฒนาองค์กรบริหารและ จัดการ ลุ่มน้ำ  ในลักษณะพหุภาคี ทั้งในระดับลุ่มน้ำ ขนาดใหญ่จนถึง

7.เขื่อนโป่งขุนเพชร

 

1.ให้รัฐบาลสั่งกรมชลระงับการดำเนินการใด ๆ

2.จัดงบให้คณะกรรมการกรณีเขื่อนยังไม่สร้าง เพื่อพิจารณา ความ เหมาะสมและผลกระทบ ทางสังคม และสิ่งแวดล้อม และ จัดรับฟังความ เห็น

ลุ่มน้ำขนาดเล็ก  โดยเริ่มที่ลุ่มน้ำที่ มีปัญหาก่อน

6.มีการวางแผนการจัดการลุ่มน้ำ  โดยคณะกรรมการแบบพหุภาคีเข้า มีส่วนร่วมให้แล้วเสร็จทั่วประเทศ

8.เขื่อนลำโดมใหญ่

 

1.ให้รัฐบาลสั่งการให้กรมชลระงับการดำเนินการ ใดๆ โดย เฉพาะระงับการใช้งบประมาณเพื่อการ ออกแบบ ทางวิศวกรรม

2. จัดงบให้คณะกรรมการกรณีเขื่อนยังไม่สร้าง เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมและผลกระทบทาง สังคมและสิ่ง แวดล้อมและ จัดรับฟังความเห็น

9.เขื่อนหัวนา

 

1.ให้รัฐบาลสั่งการให้กรมพัฒนาและส่งเสริม พลังงานระงับ การดำเนินการทั้งหมด

2.ให้มีการศึกษาผลกระทบทางสังคมและสิ่ง แวด ล้อม รวมทั้งตรวจสอบทรัพย์สินที่จะเสียหาย  โดยให้หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมเป็นผู้จัด จ้าง และให้ชาวบ้าน และองค์กรเอกชนมีส่วนร่วม

กรณีปัญหาป่าไม้ที่ดิน

         กรณีปัญหา

มาตรการระยะสั้น

มาตรการระยะยาว(ป่าไม้ที่ดิน)

10.ป่าสงวนแห่งชาติดงภูหล่น  อุทยานภูผาแต้ม  ป่าสงวน ดงหินกอง อุทยานแก่งตะนะ และป่าสงวนป่าหลังภู

ให้รัฐบาลทบทวนมติ ครม. 30 มิถุนายน 2541 และ ใช้แนวทางที่ยอมรับการมีส่วนร่วม  กันแนวเขตที่อยู่ อาศัยและที่ทำกินออกจากเขตป่า  โดยดำเนินการต่อ เนื่องตามมติ ครม.เดิม

1.ให้รัฐบาลทบทวนมติ ครม.30 มิถุนายน 2541 และ ใช้แนวทางการอมรับคนอยู่กับป่า กันแนวเขต ที่อยู่ อาศัยและที่ทำกินออกจากเขตป่า โดยดำเนินการตาม มติ ครม.เดิม ซึ่งชาวบ้านมีส่วนร่วม

11.กรณีป่ากุดชุมภู

ให้รัฐบาลสั่งการตั้งคณะทำงานร่วมระหว่างราชการ และชาวบ้าน ในสัดส่วนที่เท่ากันเพื่อดำเนินการดังนี้

1.กันแนวเขตป่าชุมชนออกจากที่อยู่อาศัยและที่ทำกิน

2.ให้คงสิทธิในเอกสารสิทธิ์ตามประมวลกฎหมายที่ดิน

3.กรณีที่มีการครอบครองแต่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ และอยู่ ในเกณฑ์ออก ส.ป.ก.4-01 ได้ ให้เร่งออก ส.ป.ก.4-01

 

2.ให้รัฐบาลทบทวนแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับป่า ไม้ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิชุมชน ตามมาตรา 46 มาตรา 56 และมาตรา 79

กรณีที่สาธารณประโยชน์

กรณีปัญหา

มาตรการระยะสั้น

12.ที่สาธารณประโยชน์บ้านตุงลุง

ให้ยุติการจับกุมดำเนินคดีชาวบ้านทั้งหมด  ให้ชาวบ้านอยู่ในที่เดิมโดยห้ามบุกรุกเพิ่มเติม  และอนุมัติให้ จัดตั้งเป็นหมู่บ้านตามกฎหมาย  และจัดหาสาธารณูปโภคให้

13.ที่สาธารณะบ้านวังใหม่

จังหวัดควรประสานงานกับ อบต.หนองแสงใหญ่และตัวแทนชาวบ้านให้มีการพิจารณาสภาพการ ใช้ประ โยชน์ที่ดินสาธารณประโยชน์แปลงนี้อีกครั้ง

กรณีปัญหาโครงการพัฒนาของรัฐ

กรณีปัญหา

มาตรการระยะสั้น

14.กรณีชุมชนช่องเม็ก

ให้ตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นผู้พิจารณาข้อเรียกร้อง โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์ที่ดิน และวางแผนพัฒนาด่านช่องเม็ก  และในระหว่างการสอบสวนการครอบครองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ควรให้ ชาวบ้านอยู่ในที่เดิมไปก่อน

15.กรณีบ้านเหล่าอินทร์แปลง

ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการกันพื้นที่บ้านเหล่าอินทร์แปลงออกจากโครงการพัฒนาด่านช่องเม็กต่อ โดย กระบวนการมีส่วนร่วมของชาวบ้าน

 
 

สมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิต   138/1 หมู่ 4 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่   50200
Living River Siam Association  138 Moo 4, Suthep, Muang, Chiang Mai, 50200   Thailand
Tel. & Fax.: (66)-       E-mail : admin@livingriversiam.org

ข้อมูลในเวปนี้สามารถนำไปเผยแพร่ได้โดยอ้างอิงแหล่งที่มา